|
17761Visitors | [0000-00-00]
ประวัติแพทย์สตรีดีเด่น
แพทย์หญิงรัตนวดี ณ นคร
ชื่อ รัตนวดี ณ นคร อายุ ๕๓ ปี
เพศ หญิง สถานภาพ: โสด
วันเดือนปีเกิด ๓๐ มกราคม ๒๕๐๑
สถานที่เกิด กรุงเทพฯ
สถานที่ทำงาน หน่วยโรคข้อและภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอนแก่น ๔๐๐๐๒
ประวัติการศึกษา
๑. พ.ศ. ๒๕๒๓ วิทยาศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒. พ.ศ. ๒๕๒๕ แพทยศาสตร์บัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๓. พ.ศ. ๒๕๒๗ ประกาศณียบัตรชั้นสูงวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก มหาวิทยาลัยมหิดล
๔. พ.ศ. ๒๕๒๙ วุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญสาขาอายุรศาสตร์ แพทยสภา
๕. พ.ศ. ๒๕๓๒ DIPLOMA OF SPORT MEDICINE, FEDRATION INTERNATIONAL MEDICAL SPORTE (FIMS)
๖. พ.ศ. ๒๕๓๗ วุฒิบัตรผู้เชี่ยวชาญสาขาอายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติสซั่ม แพทยสภา
๗. พ.ศ. ๒๕๓๘ CERTIFICATE RESEARCH FELLOWSHIP IN RHEUMATOLOGY,
UNIVERSITY OF PENNSYLVANIA, PHILADELPHIA, USA
ตำแหน่งวิชาการ
๒๕๒๙-๒๕๓๑ อาจารย์ประจำสาขาวิชาประสาทวิทยา โลหิตวิทยา โรคข้อและภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๓๒-๒๕๓๕ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อายุรศาสตร์ทั่วไป ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๓๖-๒๕๔๓ รองศาสตราจารย์ อายุรศาสตร์ทั่วไป ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๔๔ – ปัจจุบัน ศาสตราจารย์ สาขาอายุรศาสตร์โรคข้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ตำแหน่งบริหาร
๒๕๓๒-๒๕๓๔ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๓๘-๒๕๔๑ ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้ช่วยบรรณาธิการ วารสารศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๓๘-ปัจจุบัน หัวหน้าหน่วยโรคข้อและภูมิแพ้ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อนุกรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
อนุกรรมการฝ่ายวิชาการสาขาอายุรศาสตร์โรคข้อ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์
๒๕๔๒-๒๕๔๖ กรรมการวิชาการ ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์
อุปนายกวิชาการ สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
๒๕๔๓-๒๕๔๗ ประธานอนุกรรมการวิจัยโรคผิวหนังแข็ง, Asia Pacific League of Associations for Rheumatology (APLAR)
๒๐๔๔-๒๕๔๖ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๒๕๔๖-๒๕๔๘ อุปนายกบริหาร สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
๒๕๔๖- ปัจจุบัน อนุกรรมการจริยธรรม แพทยสภา (ชุดที่ 9)
ผู้ทรงคุณวุฒิ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
๒๕๔๗-ปัจจุบัน กรรมการกำกับทิศทาง แผนงานโรงเรียนแพทย์สร้างเสริมสุขภาพ กลุ่มสถาบันแพทย์ศาสตร์แห่งประเทศไทยร่วมกับสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
๒๕๔๗-๒๕๔๙ ผู้ช่วยเลขานุการ, Asia Pacific League of Associations for Rheumatology (APLAR)
๒๕๔๙-๒๕๕๐ นายกรับเลือก สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
๒๕๔๙-๒๕๕๑ ประธานอนุกรรมการวิจัยโรคกลุ่ม Spondyloarthropathy, Asia Pacific League of Associations for Rheumatology (APLAR)
๒๕๕๑-๒๕๕๒ นายกสมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
๒๕๕๓-ปัจจุบัน กรรมการจริยธรรมงานวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อุปนายกบริหาร สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
รองหัวหน้าภาควิชาอายุรศาสตร์ (ด้านการพัฒนาการบริการวิชาชีพ การสร้างเสริม
สุขภาพ การสร้างพลังอำนาจแก่ผู้รับบริการ และการสร้างเครือข่ายกับสถาบันร่วมผลิตแพทย์)
การบริหารวิชาการด้านอื่นๆ
๑. เป็นผู้ประสานงานโครงการพัฒนาการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านสาขาอายุรศาสตร์และแพทย์ประจำบ้านต่อยอดให้กับมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ร่วมกับ Health Frontier, Case Western Reserve University (สหรัฐอเมริกา) ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ จนถึงปัจจุบัน ปัจจุบันรับเป็นสถาบันฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดสาขาอายุรศาสตร์โรคข้อและรูมาติสซั่มให้กับอายุรแพทย์จาก สาธารณรัฐประชาชนลาว ระหว่างปีพ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๖
๒. อนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๒ , ๒๕๔๗ และ ๒๕๕๔
๓. อนุกรรมการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ปีพุทธศักราช ๒๕๕๒-ปัจจุบัน
๔. อนุกรรมการจัดหาและพัฒนาข้อสอบ ของศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ศรว.) ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๕๓-ปัจจุบัน
๕. กรรมการจัดร่างโครงการโรงเรียนแพทยสร้างเสริมสุขภาพโดยกลุ่มสถาบันแพทย์และสำนักงานสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๔๔-๒๕๔๖
๖. กรรมการบริหารหลักสูตรมหาบัณฑิต “วิทยาศาสตร์สุขภาพและความงาม” ของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น รับผิดชอบรายวิชา “วิทยาศาสตร์สุขภาพเชิงบูรณาการ (integrated health science)”
สมาชิกองค์กรวิชาชีพ
๒๕๒๖-ปัจจุบัน แพทยสมาคม
๒๕๒๗-ปัจจุบัน แพทยสภา
๒๕๒๙-ปัจจุบัน ราชวิทยาลัยอายุรแพทย์แห่งประเทศไทย
๒๕๓๕-ปัจจุบัน สมาคมรูมาติสซั่มแห่งประเทศไทย
๒๕๓๕-ปัจจุบัน Asia Pacific League of Associations for Rheumatology (APLAR)
รางวัลที่เคยได้รับ
๑. นักเรียนทุนสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชนีนาถประจำปีการศึกษา ๒๕๑๗ ประทานโดยพระวรวงค์เธอพระองค์เจ้าสุทธิสิริโสภา
๒. บัตรเชิดชูเกียรติโรงเรียนราชินี เพื่อแสดงว่าเป็นผู้มีคุณสมบัติเป็นแบบอย่างที่ดีของนักเรียน ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๑๗ พระราชทานโดยสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชการที่ ๗
๓. กิตติบัตรผลการเรียนดี เป็นผู้ที่สอบได้คะแนนยอดเยี่ยมประจำปี ๑ , ๒ , ๓ , ๔ , ๕ และ 6 ในปีการศึกษา ๒๕๑๖-๒๕๒๔ โดยคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๔. นักกีฬาดีเด่นของมหาวิทยาลัยขอนแก่นอันดับสองประจำปีการศึกษา ๒๕๒๑ กีฬา พุ่งแหลน ประเภท บุคคล โดยคณะกรรมการพัฒนากีฬามหาวิทยาลัย
๕. ประกาศเกียรติคุณนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นผู้ที่เรียนดีและประพฤติดีเป็นเยี่ยมประจำปีการศึกษา ๒๕๒๓
๖. รางวัลแพทย์ประจำบ้านดีเด่น ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๒๖ โดยภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล
๗. รางวัลชมเชยผลงานวิจัยด้าน Biomedical Research เรื่อง “ Alteration of Chlamydia Trachomatis Biologic Behavior in Synovial Membranes” ซึ่งตีพิมพ์ใน Arthritis & Rheumatism 1992;Oct:38(10):1410-7 ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๓๘ โดยฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๘. ศิษย์เก่าดีเด่น สาขาวิชาการ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๕ โดยสมาคมศิษย์เก่าแพทย์ขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๙. ศิษย์เก่าเกียรติยศ สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ โดยสมาคมศิษย์เก่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๑๐. รางวัลผู้ที่มีผลงานดีเยี่ยมด้านการพัฒนานักศึกษา ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ เนื่องในวาระครบรอบ ๔๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๑๑. รางวัลผู้ที่แต่งตำราดีเยี่ยม สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เรื่อง “ข้ออักเสบกับการติดเชื้อแบคทีเรีย พยาธิกำเนิดและการรักษา” ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๔๖ เนื่องในวาระครบรอบ ๔๐ ปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๑๒. ได้รับเชิญเป็นที่ปรึกษาด้านแพทยศาสตร์จาก Medical Education Center of Japan ปฎิบัติงานในฐานะ Visit ting Professor ที่ Gifu University, เมือง Gifu เป็นระยะเวลา 5 เดือนระหว่าง ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๖-กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๗
๑๓.โล่ห์ประกาศเกียรติคุณในฐานะเป็นผู้ที่มีความมุ่งมั่นและอุทิศตนต่อการพัฒนาคณะเภสัชศาสตร์ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๒๕ ปี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
๑๔.โล่ห์เกียรติคุณอาจารย์ที่เป็นแบบอย่างชั้นคลินิกประจำปีการศึกษา ๒๕๕๐ โดยกองทุนครูตัวอย่าง คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผลงานตีพิมพ์ด้านวิชาการ
1. FOOCHAROEN C, MAHAKKANUKRAUH A, SUWANNAROJ S, NANAGARA R. SPONTANEOUS SKIN REGRESSION AND PREDICTORS OF SKIN REGRESSION IN THAI SCLERODERMA PATIENTS. CLIN RHEUMATOL. 2011 APR 12. [EPUB AHEAD OF PRINT]
2. FOOCHAROEN C, MAHAKKANUKRAUH A, SUWANNAROJ S, NANAGARA R. ERRATUM TO: SPONTANEOUS SKIN REGRESSION AND PREDICTORS OF SKIN REGRESSION IN THAI SCLERODERMA PATIENTS. CLIN RHEUMATOL. 2011 JUL 30. [EPUB AHEAD OF PRINT]
3. FOOCHAROEN C, NANAGARA R, KIATCHOOSAKUN S, SUWANNAROJ S, MAHAKKANUKRAUH A. PROGNOSTIC FACTORS OF MORTALITY AND 2-YEAR SURVIVAL ANALYSIS OF SYSTEMIC SCLEROSIS WITH PULMONARY ARTERIAL HYPERTENSION IN THAILAND. INT J RHEUM DIS. 2011;14:282-9.
4. FOOCHAROEN C, NANAGARA R, SUWANNAROJ S, MAHAKKANUKRAUH A. CLINICAL FEATURES AND DISEASE OUTCOMES OF UNDIFFERENTIATED ARTHRITIS IN THAILAND. INT J RHEUM DIS. 2011;14:14-21
5. KIATCHOOSAKUN S, WONGVIPAPORN C, NANAGARA R, HOIT BD. RIGHT VENTRICULAR SYSTOLIC PRESSURE ASSESSED BY ECHOCARDIOGRAPHY: A PREDICTIVE FACTOR OF MORTALITY IN PATIENTS WITH SCLERODERMA. CLIN CARDIOL. 2011;34:488-93.
6. FOOCHAROEN C, SARNTIPIPATTANA C, FOOCHAROEN T, MAHAKKANUKRAUH A, PAUPAIROJ A, TEERAJETGUL Y, NANAGARA R. SYNOVIAL FLUID ADENOSINE DEAMINASE ACTIVITY TO DIAGNOSE TUBERCULOUS SEPTIC ARTHRITIS. SOUTHEAST ASIAN J TROP MED PUBLIC HEALTH. 2011; 42:331-7.
7. FOOCHAROEN C, NANAGARA R, FOOCHAROEN T, MOOTSIKAPUN P, SUWANNAROJ S, MAHAKKANUKRAUH A. CLINICAL FEATURES OF TUBERCULOUS SEPTIC ARTHRITIS IN KHON KAEN, THAILAND: A 10-YEAR RETROSPECTIVE STUDY. SOUTHEAST ASIAN J TROP MED PUBLIC HEALTH. 2010;41:1438-46.
8. RUBBERT-ROTH A, TAK PP, ZERBINI C, TREMBLAY JL, CARREÑO L, ARMSTRONG G, COLLINSON N, SHAW TM; MIRROR TRIAL INVESTIGATORS.EFFICACY AND SAFETY OF VARIOUS REPEAT TREATMENT DOSING REGIMENS OF RITUXIMAB IN PATIENTS WITH ACTIVE RHEUMATOID ARTHRITIS: RESULTS OF A PHASE III RANDOMIZED STUDY (MIRROR). RHEUMATOLOGY (OXFORD). 2010;49:1683-93.
9. FOOCHAROEN C, NANAGARA R, SALANG L, SUWANNAROJ S, MAHAKKANUKRAUH A. PREGNANCY AND DISEASE OUTCOME IN PATIENTS WITH SYSTEMIC LUPUS ERYTHEMATOSUS (SLE): A STUDY AT SRINAGARIND HOSPITAL. J MED ASSOC THAI. 2009;92:167-74.
10. HIRUNTRAKUL A, NANAGARA R, EMASITHI A, AND BORER K. EFFECT OF ENDURANCE EXERCISE ON RESTING TESTOSTERONE LEVELS IN SEDENTARY SUBJECTS. Cent Eur J Public Health. 2010;18:169-72.
11. HIRUNTRAKUL A, BORER K, EMASITHI A, AND NANAGARA R. EFFECT OF ONCE A WEEK ENDURANCE EXERCISE ON FITNESS STATUS IN SEDENTARY SUBJECTS. J Med Assoc Thai. 2010;93:1070-4.
12. KIATCHOOSAKUN S, WONGVIPAPORN C, NANAGARA R. RIGHT VENTRICULAR SYSTOLIC PRESSURE ASSESSED BY ECHOCARDIOGRAPHY: A PREDICTIVE FACTOR OF MORTALITY IN PATIENTS WITH SCLERODERMA. CLIN CARDIOL. 2011; 34 :488-93.
13. PUENGSUWAN P, PROMDEE K, SRUTTABUL W, NANAGARA R, LEELAYUWAT N. EFFECTIVENESS OF THAI WAND EXERCISE TRAINING ON HEALTHRELATED QUALITY OF LIFE IN SEDENTARY OLDER ADULTS. CHULA MED J. 2008; VOL.52:107-121.
14. KIATCHOOSAKUN S, UNGKASEKVINAI W, WONVIPAPOM C, TATSANAVIVIT P, FOOCHAROEN C, SUWANNAROJ S, NANAGARA R. D-DIMER AND PULMONARY ARTERIAL HYPERTENSION IN SYSTEMIC SCLEROSIS. J MED ASSOC THAI. 2007; VOL.90:2024-9.
15. PITATKUL J, CHANSUNG K, NANAGARA R. POSITIVE RATE OF RHEUMATOID FACTOR IN HEALTHY ADULT BLOOD DONORS. I-SAN JOURNAL OF INTERNAL MEDICINE. 2006; VOL.15:25-28.
16. DISTLER JH, HAGEN C, HIRTH A, MULLER-LADNER U, LORENZ HM, del ROSSO A, MICHEL R, NANAGARA R, NISHIOKA K, MATUCCI-CERINIC M, KALDEN JR, GAY S, DISTLER O. BUCILLAMINE INDUCES THE SYNTHESIS OF VASCULAR ENDOTHELIAL GROWTH FACTOR DOSE-DEPENDENTLY IN SYSTEMIC SCLEROSIS FIBROBLASTS VIA NUCLEAR FACTOR-KAPPAB AND SIMIAN VIRUS 40 PROMOTER FACTOR 1 PATHWAYS. MOL PHARMACOL. 2004 FEB; 65:389-99.
8. MOOTSIKAPUN P, SIRIJERACHAI C, CHANSUNG K, NANAGARA R. ACUTE LUPUS HEMOPHAGOCYTIC SYNDROME: REPORT OF A CASE AND REVIEW OF THE LITERATURE. J MED ASSOC THAI. 2004 MAR; 87:333-9.
9. MOOTSIKAPUN P, MAHAKKANUKRAUH A, SUWANNAROJ S, NANAGARA R. TUBERCULOUS PYOMYOSITIS. J MED ASSOC THAI. 2003; 86:477-81.
10. MOOTSIKAPUN P, SIRIJERACHAI J, NANAGARA R. KIKUCHI-FUJIMOTOS’ DISEASE, HISTIOCYTIC NECROTIZING LYMPHADENITIS, MIMICKING SYSTEMIC LUPUS ERTHEMATOSUS. J MED ASSOC THAI. 2002 ;85 :1037-41.
11. MOOTSIKAPUN P, MAHAKKANUKRAUH A, SUWANNAROJ S, NANAGARA R. QUINOLONES AND SALMONELLA SEPTIC ARTHRITIS. J MED ASSOC THAI. 2002 ;85 :984-9.
12. NANAGARA R, SUWANNAROJ S, MAHAKKANUKRAUH A, SCHUMACHER HR JR. LONG TERM TREATMENT OUTCOME OF SALMONELLA SEPTIC ARTHRITIS. ARTHRITIS RHUEM 2001; 44: S 348.
13. SIRAPHOP S, MACHAKKANUKRAUH A, ROMPHRUK A, LEELAYUWAT C, ROMPHRUK ARUNRAT, PUAPAIROJ C AND NANAGARA R. THE ASSOCIATION OF HLA AND SYSTEMIC SCLEROSIS (SSc) IN THE NORTHEASTERN THAIS: A PRELIMINARY STUDY IN 60 PATIENTS. ARTHRITIS RHEUM 2001; 44: S 179.
14. HAGEN C, DISTLER J, MULLER-LADNER U, GUIDUCCI S, GAY RE, NANAGARA R, MICHEL BA, NISHIOKA K, MATUCCI-CERINIC M, GAY S, DISTLER O. DOSE DEPENDENT INDUCTION OF VEGF IN SYSTEMIC SCLEROSIS FIBROBLASTS BY SA96 (BUCILLAMINE): THE ROLE OF NF-B. ARTHRITIS RHEUM 2001; 44: S193.
15. NANAGARA R. INFECTION AND ARTHRITIS:AN UNDATE. J INTERN MED 2001; 17 (4): 366-70.
16. MAHAKKANUKRAUH A, SUWANNROJ S, NANAGARA R. RUPTURED CEREBRAL ANEURYSM CAUSED BY CEREBRAL VASCULITIS IN SLE PATIENT: A CASE REPRORT AND REVIEW LITERATURES. J INTERNAL MED 2001; 17 (3):
17. SUWANNAROJ S, MOOTSIKAPUN P, VIPULAKORN K, NANAGARA R. SALMONELLA GROUP D SEPTIC ARTHRITIS AND NECROTIZING FASCIITIS IN TA PATIENT WITH RHEUMATOID ARTHRITIS AND DIABESTES MILLITUS. J CLIN RHEUMATOL; 2001; 7(2) : 83-5.
18. NANAGARA R, CHANSUNG K, UABANDIT M, OUNKEAW M, KOM-OR M, TAYIDA MAND AOD-TON Y. THE PREVALENCE OF RHEUMATIC DISEASES AND SELF-CARE BEHAVIROR IN THE NORTHEST THAI. (FULL REPORT, PUBLIC HEALTH SYSTEM RESEARCH ORGANIZATION, PRESENTED IN 9TH APLAR CONGRESS IN RHEUMATOLOGY 2000, BEJING, CHINA).
19. NANAGARA R, CHANSUNG K, UABANDIT M, OUNKEAW M, KOM-OR M, TAYIDA M AND AOD-TON Y. SURVEY OF PRE-PACKED MEDICINE SOLD FOR MUSCULOSKELETAL PAIN RELIEF IN RURAL NORTHEAST THAILAND. (FULL REPORT, PUBLIC HEALTH SYSTEM RESEARCH ORGANIZATION, PRESENTED IN 9TH APLAR CONGRESS IN RHEUMATOLOGY 2000, BEJING, CHINA).
20. NANAGARA R, SCHUMACHER HR JR. ROLE OF IMMUNOELECTRON MICROSCOPIC STUDY (IEM) IN SEARCHING FOR INFECTIOUS AGENTS IN SYNOVIAL MEMBRANE OF INFECTIOUS ARTHRITIS. ARTHRITIS RHEUMATISM. 2000; 9 ; S174.
21. NANAGARA R, VIPULAKORN K, SUWANNAROJ sj, SCHUMACHER HR JR. ATYPICAL MORPHOLOGICAL CHARACTERISTICS AND SURFACE ANTIGEN EXPRESSION IN BURKHOLDERIA PSEUDOMALLEI IN NATURAL INFECTED HUMAN SYNOVIAL TISSUES. MODERN RHEUM 2000; 10: 129-36.
22. SUWANNAROJ S, NANAGARA R, HARISDANGKUL V. INTRAVENOUS IMMUNOGLOBULIN (IV Ig) TREATEMENT OF DEMYELINATING POLYNEUROPATHY IN PATIENT WITH SYSTEMIC LUPUS ERYTHEMATOSUS (SLE): A CASE REPORT AND REVIEW OF THE LITERATURES. SRINAGARIND MED J 1998; 13:107-11.
23. SUWANNAROJ S, NANAGARA R. TREATMENT OF GOUT IN GENTERAL PREACTICES. SRINAGARIND MED J. 1998; 13: 224-28.
24. NANAGARA R, BAKER DG AND SHUMACHER HR JR. SEPTIC ARTHRTIS. IN : CONN RB, BORER WZ, SNYDER JW, ED. CURRENT DIAGNOSIS 9TH ED. PHILADELPHIA:WB SAUNDERS 1997: 1000-1004.
25. NANAGARA R, SUWANAROJ S. ACUTE MONOARTHRITICULAR ARTHRITIS: CLINICAL APPROACH AND MANAGEMENT. J INTERN MED 1997; 13 : 66-74.
26. NANAGARA R, DURAY PH, AND SHUMACHER HR JR. ULTRASTRUCTURAL DEMONSTRATION OF SPIROCHETAL ANTIGENS IN SYNOVIAL FLUID AND SYNOVIAL MEMBRANE IN CHRONIC LYME DISEASE: POSSIBLE FACTORS CONTRIBUTING TO PERSISTENCE OF ORGANISMS. HUMAN PATHOL. 1996; 27:1025-1034.
27. NANAGARA R, VIPULAKORN K, SHCHUMACHER HR JR. HOST AND ORGANISM INTERACTION IN SALMONELLA SEPTIC ARTHRITIS DEMONSTRATED BY IMMUNOELECTRON MICROSCOPY (IEM) OF SYNOVIUM: A SIGN OF EFFECTIVE INTRACELLULAR KILLING? ARTHRITIS RHEUM. 1996; 39 (SUPPL):S 185.
28. NANAGARA R, LI F, BEUTLER A, HUDSON A AND SHUMACHER HR JR. ALTERATION OF CHLAMYDIATRACHOMATIS BIOLOGIC BEHAVIOUR IN SYNOVIAL MEMBRANE: SUPPRESSION OF SURFACE ANTIGEN EXPRESSION IN REACTIVE ARTHRITIS AND REITER’S SYNDROME. ARHTRITIS RHUEM. 1995, 38:1410-7.
29. BEUTLER AM, WHITTUM-HUDSON JA, NANAGARA R, SHCUMACHER HR JR AND HUDSON AP. INTRACELLULAR LOCATIN OF INAPPARENTLY INFECTING CHLAMYDIA IN SYNOVIAL TISSUE FROM PATIENTS WITH REITER’S SYNDROME. IMMUNOL RES. 1994; 13 (2-3):163-71.
30. BEUTLER A, HUDSON JW, NANAGARA R, SCHUMACHER HR. DEMONSTRATION OF CHLAMYDIA TRACHOMATIC BY RNA IN SITU HYBRIDIZATION IN SYNOVIAL MEMBRANES OF PATIENTS WITH CHRONIC REACTIVE ARTHRITIS. ARTHRITIS RHEUM. 1994; 37 (SUPPL): S 233.
31. LI F, NANAGARA R, ROTHFUSS S, SCHUMACHER HR JR. DEMONSTRATION OF PEPTIDOGLYCAN IN SYNOVIAL FLUID CELLS AS A POSSIBILIGY OF ARTHRITOGENIC FACTOR IN PSORIATIC ARTHRITIS. ARTHRITIS RHUEM. 1994; 37 (SUPPL) : S 204.
32. NANAGARA R, NATIRUJ K, INTARAPOKA B. SERUM URATE LEVELS IN AMPUR PHON VILLAGERS. INTERN MED. 1990; 6:119-23.
33. NANAGARA R, NATIRUJ K, LAOPAIBOON M. CLINICAL STUDY OF THE OUTCOME IN SYSTEMIC LUPUS ERYTHEMATOSUS: CAUSES OF DEATH AND PROGNOSTIC FACTORS. INTERN MED. 1990; 6:1-5.
34. NANAGARA R, NATIRUJ K. CLINICAL STUDY OF SYSTEMIC LUPUS ERYTHEMATOSUS IN NORHEAST THAI PATIENTS. INTERN MED. 1989; 5:125-32.
35. NANAGARA R. ACUTE RHEUMATIC FEVER IN ADULTS. A RETROSPECTIVE CLINICAL ANALYSIS OF 21 PATINETS. SRINAGARIN HOSP MED J. 1989; 4 :104-11.
36. NANAGARA R, VONGSANGNAK D. SECONDARY GOUT ASSOCIATED WITH AGNOGENIC MYELOID METAPLASIA; A CASE REPORT AND REVIEW LITERATURES. SRINAGARIND MED J. 1989; 4 :53-6.
37. NANAGARA R. NON-RHEUMATOLOGIC USE OF NSAIDS. SRINAGARIND MED J. 1987;2:270-80.
38. NANAGARA R. TUBERCULOUS MENINGITIS AND MYELITIS. J OF INFECTIOUS DISEASE AND ANTIMICROBIAL ANGENTS. 1985; 2:170-73.
39. JERACHON B, NANAGARA R. RENAL EFFECTS OF NON-STEROIDAL ANTIINFLAMMATORY DRUGS. THE BULLETIN OF NEPHROLOGY SOCIETY OF THAILAND 1985; 5:29.
งานวิจัยทางคลินิกที่อยู่ระหว่างดำเนินการ
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
๑. “การศึกษาแบบสุ่ม ไม่ทราบการรักษาแบบปิดสองด้าน เพื่อประเมินประสิทธิผลและความปลอดภัยของการรักษาซ้ำด้วยยาริทูซิแมบในหลายขนาด เมื่อให้ร่วมกับยาเมโทเทร็กเซท ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่ตอบสนองต่อการรักษาด้วยยาเมโทเทร็กเซทไม่เพียงพอ (A Randomised, Double-Blind, International Study To Evaluate The Efficacy And Safety Of Various Re-treatment Regimens Of Rituximab In Combination With Methotrexate In RA Patients With An Inadequate Response To Methotrexate) ” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๙ งานวิจัยดำเนินการแล้วเสร็จและปิดโครงการในปี พ.ศ. ๒๕๕๔
๒. “การศึกษาแบบสุ่มไม่ทราบการรักษาทั้ง 2 ทาง ลักษณะกลุ่มคู่ขนาน ระดับนานาชาติ เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผลของยาโอครีลิซูแมบเปรียบเทียบกับยาหลอก ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่ยังมีอาการอยู่ และได้รับการรักษาต่อเนื่องด้วยยาเมโทเทร็กเซท (A randomized, double-blind, parallel group, international study to evaluate the safety and efficacy of ocrelizumab compare to placebo in patients with active rheumatoid arthritis continuing methotrexate treatment (WA20494/ACT3985g))” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ดำเนินงานวิจัยแล้วเสร็จและคาดว่าจะปิดโครงการในปี พ.ศ. ๒๕๕๔
๓. “การศึกษาแบบสุ่ม ปกปิดชนิดการรักษาด้วยยาหลอก เพื่อประเมินความปลอดภัยและประสิทธิผลของการใช้ยาโทซิลิซูแมบร่วมกับยาเมโทเทรกเซต เปรียบเทียบกับการเปลี่ยนไปใช้ยาโทซิลิซูแมบเพียงตัวเดียว (ปกปิดชนิดการรักษาด้วยยาหลอก ) ซึ่งผู้ป่วยมีโอกาสที่จะได้รับยาต้านรูมาติซั่มที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินของโรค )DMARDs) อื่นเพิ่มเติม ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่ตอบสนองไม่เพียงพอต่อการรักษาด้วยยาเมโทเทรกเซตที่เคยได้รับ (Randomized placebo-controlled study to evaluate the safety and efficacy of adding tocilizumab (TCZ) to methotrexate (MTX) versus switching to TCZ (placebo-controlled), with possible addition of other disease-modifying anti-rheumatic drugs (DMARDs), in patients with active rheumatoid arthritis who have inadequately responded to prior MTX treatment)” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ คาดว่าจะแล้วเสร็จปลายปี พ.ศ.๒๕๕๔
๔. “การศึกษาความปลอดภัยและประสิทธิผลของการใช้ยา Diacerein ๑๐๐ มิลลิกรัมต่อวันร่วมกับยา Methotrexate เปรียบเทียบกับการใช้ยา Methotrexate อย่างเดียว ในการรักษาโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ระยะแรก; การศึกษานำร่องระยะที่ ๒ในหลายสถาบัน ชนิดปิด 2 ด้าน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม ควบคุมด้วยยาหลอก ในช่วงเวลา ๖ เดือน ” ชื่อภาษาอังกฤษ “Safety and efficacy of the combination of Diacerein 100 mg daily and Methotrexate versus Methotrexate alone in the treatment of early Rheumatoid arthritis; A 6-month, pilot, randomized, double-blind, placebo-controlled, multicentre, phase II study” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๕๓ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๕๕
๕. “การศึกษาแบบสุ่มไม่ทราบการรักษาทั้ง ๒ ทาง ลักษณะกลุ่มคู่ขนาน เพื่อศึกษาความปลอดภัยและผลต่อผลลัพธ์ทางคลินิกของยาโทซิลิซูแมบแบบฉีดเข้าใต้ผิวหนังเปรียบเทียบกับยาโทซิลิซูแมบแบบฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ เมื่อใช้ร่วมกับยาต้านรูมาติสซั่มที่ปรับเปลี่ยนการดำเนินโรค (DMARDs) ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ที่มีอาการของโรคระดับปานกลางถึงรุนแรง ชื่อภาษาอังกฤษ (A randomized, double-blind, parallel group study of the safety and effect on clinical outcome of tocilizumab SC versus tocilizumab IV, in combination with traditional disease modifying anti-rheumatoid arthritis drugs (DMARDs), in patients with moderate to severe active rheumatoid arthritis)” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๕๓ คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จในปีพ.ศ.๒๕๕๕
๖. “การศึกษาแบบสุ่ม ปกปิดสองด้าน ควบคุมด้วยยาหลอก สำหรับยา เซคูคินูแมบ เพื่อประเมินประสิทธิผล ณ สัปดาห์ที่ ๒๔ และประเมินความปลอดภัย ความทนต่อยา รวมถึงประสิทธิผลของยาระยะยาวจนถึง ๒ ปี ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ที่ตอบสนองไม่เพียงพอต่อยาต้านทีเอ็นเอฟอัลฟา” หรือชื่อภาษาอังกฤษ “A randomized, double-blind, placebo-controlled study of secukinumab to demonstrate the efficacy at 24 weeks and to assess the safety, tolerability and long term efficacy up to 2 years in patients with active rheumatoid arthritis who have an inadequate response to anti-TNFα agents” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๔ คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จในปีพ.ศ.๒๕๕๖
๗. “การศึกษาแบบสุ่ม ปกปิดสองด้าน ควบคุมด้วยยาหลอก สำหรับยาเซคูคินูแมบ เพื่อประเมินประสิทธิผล ณ สัปดาห์ที่ ๒๔ และประเมินความปลอดภัย ความทนต่อยา รวมถึงประสิทธิผลของยาระยะยาวจนถึง ๒ ปี ในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ ที่ตอบสนองไม่เพียงพอต่อยาต้านทีเอ็นเอฟอัลฟา” หรือชื่อภาษาอังกฤษ “A randomized, double-blind, placebo-controlled study of secukinumab to demonstrate the efficacy at 24 weeks and to assess the safety, tolerability and long term efficacy up to 2 years in patients with active rheumatoid arthritis who have an inadequate response to anti-TNFα agents” รออนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์
โรคผิวหนังแข็งและภาวะความดันหลอดเลือดแดงปอดสูง
๘. เรื่อง “การศึกษาระยะที่ ๓ ขับเคลื่อนด้วยเหตุการณ์ตามที่กำหนด แบบสุ่มตัวอย่าง ปิดบังการรักษาทั้ง ๒ ฝ่าย โดยมีกลุ่มควบคุมที่ได้รับยาหลอกและได้รับยารักษาขนานกันไปในหลายสถาบัน เพื่อประเมินผลของยา ACT-064992 ต่อการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตในผู้ป่วยที่มีอาการความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง (AC-055-302 : A multicenter, double-blind, randomized, placebo-controlled, paralletl group, event-driven, Phase III study to assess the effects of ACT-064992 on morbidity and mortality in patients with symptomatic pulmonary arterial hypertension)” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑ ดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๕๔
๙. เรื่อง “การศึกษาระยะยาวในผู้ป่วยกลุ่มเดียว ขยายการให้ยาออกไปแบบเปิดเผยการรักษาต่อจากโครงการวิจัยเซราฟิน เพื่อประเมินความปลอดภัยและความทนทานต่อยาเอซีที-๐๖๔๙๙๒ ในผู้ป่วยที่มีอาการความดันหลอดเลือดแดงในปอด สูง (AC-055-303 OL : Long-term single-arm open-label extension study of the SERAPHIN study, to assess the safety and tolerability of ACT-064992 in patients with symptomatic pulmonary arterial hypertension)” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๑ เป็นโครงการติดตามผู้ป่วยระยะยาว ให้ยาวิจัยต่อเนื่องจนกว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิต
๑๐. “การศึกษาวิจัยร่วมในหลายสถาบัน ระยะที่ ๓ แบบปกปิดข้อมูลการรักษาทั้งสองฝ่าย ควบคุมด้วยยาหลอกเพื่อแสดงให้เห็นประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาเอซีที-293987 ในผู้ป่วยโรคความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง ชื่อภาษาอังกฤษ (Double-blind, placebo-controlled Phase 3 study to demonstrate the efficacy and safety of ACT-293987 in patients with pulmonary arterial hypertension)” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ 8 มิถุนายน 2553 คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๕๖
๑๑. “การศึกษาวิจัยระยะยาวในกลุ่มเดียว แบบเปิดเผยข้อมูลการรักษาเพื่อประเมินความปลอดภัยและความทนได้ต่อยาเอซีที 293987 ในผู้ป่วยโรคความดันหลอดเลือดแดงในปอดสูง” ชื่อภาษาอังกฤษ “(Long-term single-arm open-label study, to assess the safety and tolerability of ACT‑293987 in patients with pulmonary arterial hypertension)”ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๓ เป็นโครงการติดตามผู้ป่วยระยะยาว ให้ยาวิจัยต่อเนื่องจนกว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิต
๑๒. “การศึกษาข้อมูลจากการลงทะเบียนผู้ป่วยที่มีภาวะความดันในปอดสูง” หรือชื่อภาษาอังกฤษ “Pulmonary Hypertension Registry” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๓ เป็นการศึกษาอัตราการรอดชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันหลอดเลือดแดงปอดสูงของคนไทยไม่ว่าจะได้รับการรักษาด้วยยาลดความดันหลอดเลือดแดงปอดหรือได้รับการรักษาแบบประคับประคองขึ้นกับสิทธิในการรักษาพยาบาลของผู้ป่วย
๑๓.“ผลของ bosentan ต่ออัตราการรอดชีวิต ความปลอดภัยและความทนทานต่อยาในผู้ป่วยโรคหนังแข็งชนิด diffuse systemic sclerosis ที่มีภาวะความดันหลอดเลือดแดงปอดสูง Effect of bosentan monotherapy on survival, safety and tolerability in pulmonary hypertension related to diffuse systemic sclerosis” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์วันที่ ๒๓ เมษายน ๒๕๕๓ คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๕๖ เป็นการศึกษาถึงประสิทธิภาพของยา bosentan ในการเพิ่มอัตราการรอดชีวิตของภาวะความดันหลอดเลือดแดงปอดสูงที่เกิดร่วมกับโรคหนังแข็งที่มี/ไม่มีภาวะพังผืดแทรกปอดร่วมด้วย
โรคเก๊าต์
๑๔.“การศึกษาประสิทธิผลและความปลอดภัยของยาซัลฟินไพราโซนในการรักษาผู้ป่วยโรคเกาต์และการลดระดับกรดยูริกในเลือดเปรียบเทียบกับยาอัลโลพิวรินอล การศึกษาไปข้างหน้าหลายสถาบัน ปกปิด ๒ ด้าน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มคู่ขนาน A prospective, Multicenter, double-blind, randomized, parallel study in evaluating the efficacy and safety of sulfinpyrazone compared to allopurinol in primary gout and hyperuricemia” ได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการจริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์เมื่อวันที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๕๔ คาดว่าจะแล้วเสร็จในปี พ.ศ.๒๕๕๕